#ปอดอักเสบ อันตรายกว่าที่คิด 😷❗
📌เชื่อว่าทุกคนคงเคยได้ยินอาการ “ปอดอักเสบ” หรือ “ปอดบวม” กันมาบ้างนะครับ ชื่อภาษาอังกฤษของโรคนี้เรียกว่า Pneumonia สาเหตุของโรคเกิดมาจาก #การติดเชื้อ #แบคทีเรีย #ไวรัส #เชื้อรา 🦠🧫☣️ (เช่น Streptococcus pneumonia/ Acinetobacter baumannii/ Pseudomonas spp./ Klebsiella pneumonia) ในทางเดินหายใจ จนลงสู่ปอด
📌โรคปอดอักเสบนี้จะแบ่งตามแหล่งที่มาของเชื้อได้ 2 ชนิดคือ โรคปอดอักเสบในชุมขน และ โรคปอดอักเสบในโรงพยาบาล โรคนี้โรคติดเชื้อที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตมากที่สุดทั่วโลกเป็นโรคที่พบบ่อยและมีอันตรายสูง มักเกิดแทรกซ้อน พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ (>65 ปี) และเด็กทารกแรกคลอด (0-4 ปี) (1*) มีรายงานหนึ่งนะครับพบว่าอัตราการเสียชีวิตของโรคปอดอักเสบในโรงพยาบาลสูงถึง 29.4% (2*)❗⚠️
นอกจากนี้ปัญหาที่พวกเราชาวโลกกำลังเผชิญคือโรค COVID-19 ที่เกิดจากเชื้อ SARS-CoV-2 ก่อให้เกิดการเสียชีวิตจำนวนมากจากอาการปอดอักเสบ ☣️
📌ปัจจัยที่ทำให้มีอัตราการเสียชีวิตยังสูงมาจาก
– การวินิจฉัย
เนื่องจากโรคปอดอักเสบมีสาเหตุเกิดได้จากเชื้อโรคหลายขนิด ไม่ว่าจะ แบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส การที่จะเพาะเชื้อเพื่อให้รู้ถึงต้นตอของอาการอาจทำได้ #ช้า เนื่องจากเชื้อบางชนิดมีการเพาะเลี้ยงยากและมีขั้นตอนที่ซับซ้อน และหากการเพาะเชื้อครั้งแรกไม่ใช่ตัวที่สันนิษฐาน ก็ต้องมีการเพาะเชื้อใหม่ ทำให้ใช้เวลานาน
– การดื้อยา
ในปัจจุบันพบการดื้อยาปฏิชีวนะของเชื้อโรคเหล่านี้เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยื่งเชื้อโรคที่อยู่ในโรงพยาบาล เนื่องจากมีการใช้ยาปฏิชีวนะเกินขนาด และ ในบางครั้งใช้อย่างไม่เฉพาะเจาะจง เนื่องจากยังไม่ทราบถึงต้นตอของเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดอาการ
📢บริษัท Illumina ได้พัฒนาชุดน้ำยาในการวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเชื้อโรคในทางเดินหายใจโดยอาศัยเทคโนโลยี NGS ชื่อ “Respiratory Pathogen ID/AMR” หรือที่เรียกสั้นๆว่า RPIP📢
RPIP มีข้อดีอย่างไร❓
✅ สามารถวิเคราะห์หาสารพันธุกรรมของเชื้อก่อโรคได้ #มากกว่า280สายพันธุ์ [แบ่งเป็น แบคทีเรีย > 180 สายพันธุ์/ ไวรัส > 40 สายพันธุ์/ เชื้อรา > 50 สายพันธุ์
✅ #สามารถวิเคราะห์หาเชื้อไวร้ส #SARSCoV2 ที่ก่อให้เกิดโรค COVID-19 ได้ และยัง #แยกสายพันธุ์ของSARSCoV2 ได้
✅ ใช้เวลาเพียง 14 ชั่วโมง ตลอดกระบวนการ * (ขึ้นกับเครื่อง Sequencer ที่ใช้)
✅ สามารถวิเคราะห์และระบุการดื้อยาของเชื้อโรคที่ตรวจพบได้ ซึ่งอาจนำไปสู่การพัฒนาแนวทางการรักษาที่แม่นยำ (Precision Medicine) ได้อย่างรวดเร็ว
🌐 รายชื่อเชื้อโรค/การดื้อยา ที่ชุด RPIP สามารถวิเคราะห์ได้
อ้างอิง
- Tanit Jaikran and Neeranuch Wongcharoen. Incidence Rates and Impact of Pneumonia in Pong Hospital. Journal of The Royal Thai Army Nurses. Vol. 22 No.1 January – Aprit 2021
- Pharita Boonraksa et al. Hospital-acquired pneumonia in adults Etiology and prevalence of antibiotic resistance in 2012- 2013 at Suratthani Hospital. Journal of Health Systems Research. Vol. 7 No. 2 Apr.-Jun. 2013
📌สนใจเทคโนโลยีชุดน้ำยา RPIP ของ Illumina คิดถึง Bio-Active นะครับ🙏👍
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม คลิก